“Not only in the temple, dhamma and lifestyle is the same thing.”

Dhamma questions and answers by Master Acharavadee Wongsakon
October 2, 2019
“Cause of Karma”
October 2, 2019

“Not only in the temple, dhamma and lifestyle is the same thing.”

(Please find Thai below)

“Dhamma “is inherently natural, – what is common in the world. To mention specific features that people are familiar with, the definition that King Rama 9 said … Dhamma is goodness and decency.

Lifestyle is “how people meet their needs in all forms of living”, causing by having the mind pushed and decided all. If the mind is without dhamma, it will have a wrong lifestyle, however, if there is, it’s a lifestyle that benefits oneself and others. For example,

Living: One must keep the house clean, not ignoring problems in and around the house, not being selfish, respecting the rights of others, and not making noises to disturb neighbors.

Living in a household: One must live together and honor each other, as well as having benevolence, letting go of things …not being an angel at the temple, but being a Satan at home. This is also dhamma.

Dhamma in the temple or dhamma places is a sector of religious activities or disciplining the mind temporarily but the true thing is in every breath. This is because life is decision making to do something all the time. Therefore, the mind must have Dhamma directing and the five precepts being a foundation that one must concentrate on and not to break. Train the mind to be mindful and conscious … The practice of meditation for a moment is to increase the power of life, to have meditation power, sharp concentration, to make the right decision and to have knowledge to keep up with the impurities.

There is a question, “Is it wrong to use brand name products?” If brand name means a quality product, it is not wrong. However, Hi-end users should ask themselves whether the purchase purpose is for quality or increasing society status level. Even though, the purchase purpose is the latter one, it is still not wrong but causes unhappiness because it generates ego by using objects to make ones look above others, instead of making good deed. Though, the purchase purpose is still uncertain, inner impurities always aim that way.

How necessary is it to hold a bag worth hundred thousand baht? It may not cause anyone troubles, but it is against one’s feeling and creating too much gap between the rich and the poor, especially for public persons.

This is dhamma, which is goodness and decency. Lifestyle…before doing anything, thorough thinking and careful consideration is a must, as Somdet Phra Buddhacariya (Toh Brahmaransi) has taught.

Dhamma is not just in the temple, but in lifestyle and every breath.

Master Acharavadee Wongsakon

Source: Daily Life Dhamma book (Questions and answers, page 145-151)

Quote on Picture

Dhamma is goodness and decency

Lifestyle is how human beings respond to their desires in all forms of living.

Without dhamma in mind, it will lead to a wrong lifestyle.

With dhamma in mind, it is a lifestyle that benefits oneself and others.

Dhamma is not just in the temple, but in lifestyle and every breath

Translated by Nilobon Waiyaworn and Patcharanan Laopimolpan

Reviewed by Hataichanok Baker

“ไม่ได้มีแค่ที่ในวัด ธรรมะกับไลฟ์สไตล์เป็นเรื่องเดียวกัน”

“ธรรมะ” โดยเนื้อแท้คือธรรมชาติ คือสิ่งอันเป็นธรรมดาที่มีอยู่ในโลก หากจะกล่าวถึงคุณลักษณะเด่นเฉพาะที่คนคุ้นเคย ก็จะขอนำคำจำกัดความที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้ตรัสไว้ว่า…ธรรมะคือความดีและความถูกต้อ

ไลฟ์สไตล์ คือ “วิธีการที่มนุษย์ตอบสนองความต้องการของตน ในทุกรูปแบบการดำรงชีวิต” ซึ่งเกิดจากการที่มีจิตผลักดันและตัดสินใจทั้งสิ้น หากจิตไม่มีธรรมก็จะทำให้มีไลฟ์สไตล์ที่ผิด หากมีธรรมก็เป็นไลฟ์สไตล์ที่เกิดประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น ตัวอย่า

การอยู่อาศัย : ต้องดูแลบ้านเรือนให้สะอาด ไม่ดูดายต่อสิ่งที่เป็นปัญหาในบ้านและรอบรั้วบ้าน ไม่เห็นแก่ตัว รู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น ไม่ก่อเสียงดังให้รบกวนเพื่อนบ้า

การใช้ชีวิตในครัวเรือน : ต่างต้องอยู่กันด้วยการให้เกียรติซึ่งกันและกัน มีเมตตากรุณา ต้องรู้จักละความยึดมั่นถือมั่นบ้าง…ไม่ใช่เป็นนางฟ้าอยู่ที่วัดแต่กลับบ้านแล้วเป็นซาตาน นี่ก็ธรรม

ธรรมะในวัดหรือธรรมสถาน คือภาคของการปฏิบัติศาสนกิจหรือไปขัดเกลาอบรมจิตใจชั่วขณะ แต่ของจริงมันมีอยู่ในทุกลมหายใจ เพราะชีวิตคือการตัดสินใจที่จะทำอย่างใดอย่างหนึ่งอยู่ตลอดเวลา จิตจึงต้องมีธรรมกำกับ โดยมีศีลห้าเป็นพื้นฐานที่ต้องตั้งใจมั่นที่จะไม่ละเมิด ฝึกสติสัมปชัญญะ…การไปปฏิบัติภาวนาชั่วครู่คือการไปเพิ่มพลังให้ชีวิต คือให้มีพลังสมาธิ มีสติคม ตัดสินใจถูกต้อง มีความรู้เท่าทันกิเล

มีคำถามว่า “การใช้ของแบรนด์เนมถือว่าผิดมั้ย” หากคำว่า แบรนด์เนม หมายถึงของที่ผลิตอย่างมีคุณภาพ ก็ถือว่าไม่ผิด แต่ผู้ใช้แบรนด์เนมระดับ Hi-end ต้องถามตัวเองว่า ใช้เพื่ออะไร เพื่อคุณภาพ หรือใช้เพื่อเอาไว้ยกระดับสถานะตัวเอง ซึ่งหากแม้จะใช้เพื่อจุดหมายที่สองก็ยังไม่ถือว่าผิด แต่เป็นเหตุนำมาซึ่งความทุกข์ เพราะมันเป็นการสร้างอัตตาในการอาศัยวัตถุยกตนให้เหนือคนอื่น แทนการสร้างคุณธรรมขึ้นมา แม้ว่าความรู้สึกขณะที่ไปหาใช้นั้นคลุมเครือ แต่กิเลสที่ฝังอย่างแนบเนียนก็มักมีจุดหมายเช่นนั้น มีความจำเป็นขนาดไหนหรือที่ต้องถือกระเป๋าถือใบละแสน…แม้จะดูเหมือนไม่ได้ทำใครเดือดร้อน แต่มันมีความแสลงใจ และสร้างความห่างระหว่างความรวยกับความจนเกินไป โดยเฉพาะผู้ที่เป็นบุคคลสาธารณ

นี่แหละ ธรรมะ คือความดีงาม ถูกต้องเหมาะสม

วิถีชีวิต…ก่อนจะทำอะไรลงไป ต้องรู้จักคิดพิจารณาอย่างถี่ถ้วน ต้องพิจารณา ๆ มหาพิจารณา ดั่งที่พระอาจารย์สมเด็จพุฒาจารย์โตเคยเทศน์ไว้

ธรรมะไม่ได้มีอยู่แค่ที่ในวัด แต่อยู่กับวิถีชีวิตในทุกลมหายใจนี่เอง

อาจารย์อัจฉราวดี วงศ์สกล

ที่มา: หนังสือธรรมะตามใจ ถามธรรม-ตอบธรรม หน้า 145-151

Discover more from The Buddhists News

Subscribe now to keep reading and get access to the full archive.

Continue reading

The Buddhist News

FREE
VIEW